20 Jun
Five Chemistry Inventions That Enabled The Modern World part:5/6(5CB in LCD)
5CB in LCD
เป็นเรื่องที่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าปัจจุบัน LCD เข้ามามีบทบาทอย่างมากใจชีวิตของเราซึ่งเจ้าผลงานที่เหลือเชื่อนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานในกองทัพอังกฤษเพื่อทดแทนหน้าจอแสดงผล CRT ที่แสนจะใหญ่เทอะทะ
ย้อนกลับไปในปี 1922 Georges Friedel ได้ค้นพบคุณสมบัติสามประเภทของวัสดุประเภทผลึกเหลว ต่อมาในปี1927 Vsevolod Frederiks ได้ค้นพบคุณสมบัติทางแสงของผลึกเหลวเพื่อใช้เปิดปิดแสงได้แต่มันยังไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ในอุณหภูมิปรกติ แต่มา George Heilmeier และ ทีมงานของสถาบันวิจัย RCA Laboratories ได้สร้างอุปกรณ์แสดงผลที่ใช้เทคนิคการเปิดปิดแสงได้เป็นผลสำเร็จ แต่การทำงานของอุปกรณ์ชนิดนี้ก็ยังไม่เสถียร จนปี 1970 George William Gray และทีมนักวิจัยจาก University of Hull ได้ค้นพบสารสำคัญที่มีความเสถียรและสามารถทำงานได้ที่อุณภูมิปรกตินั่นคือสาร 4-Cyano-4′-pentylbiphenyl หรือสาร 5CB สารต้นแบบของ LCD ในปัจจุบัน ซึ่งคุณยังสามารถพบสารชนิดนี้ได้ในจอแสดงผลราคาถูกทั่่วไป ถึงถือได้ว่าการพบสาร 5CB เป็นสารที่นำเราสู่หน้าจอแสดงผลยุคใหม่ -8
4-Cyano-4′-pentylbiphenyl |
5CB in LCD
Incredibly, plans for a flat-screen colour displays date back to the late 1960s! When the British Ministry of Defence decided it wanted flat-screens to replace bulky and expensive cathode ray tubes in its military vehicles. It settled on an idea based on liquid crystals. It was already known that liquid crystal displays (LCDs) were possible, the problem was that they only really worked at high temperatures. So not much good unless you are sitting in an oven.
In 1970 the MoD commissioned George Gray at the University of Hull to work on a way to make LCDs function at more pleasant (and useful) temperatures. He did just that when he invented a molecule known as 5CB). By the late 1970s and early 1980s, 90% of the LCD devices in the world contained 5CB and you’ll still find it in the likes of cheap watches and calculator. Meanwhile derivates of 5CB make the phones, computers and TVs possible.
reference